share

โปรตีนต่อวัน ทานเท่าไร เลือกทานอย่างไรให้เหมาะกับตัวเอง

Last updated: 1 Mar 2024
โปรตีนต่อวัน ที่ควรได้รับ

อาหารให้พลังงาน สำคัญต่อร่างกาย

การที่ร่างกายจะมีพละกำลัง มีเรี่ยวแรงในการทำกิจกรรม มนุษย์จะต้องรับประทานอาหารเพื่อสร้างพลังงาน เพื่อเข้ากระบวนการย่อยที่กระเพาะอาหาร สร้างพลังงานให้กับร่างกายต่อไป แหล่งพลังงานที่สำคัญของร่างกายก็มีทั้ง น้ำและอาหาร โดยในหมวดของอาหารนั้น ก็จะมีด้วยกัน 5 หมู่ด้วยกัน ทั้ง 5 หมู่จะให้พลังงานและ ความสำคัญแตกต่างกัน ทั้ง คาร์โบไฮเดรต ไขมัน โปรตีนต่อวัน ต้องรับประทานเท่าไรจึงจะพอดีเด็ก ผู้ใหญ่ วัยทำงาน ผู้สูงอายุ ใครควรรับประทานโปรตีนเป็นจำนวนกี่กรัม โปรตีน กินวันละเท่าไหร่ ให้เพียงพอต่อการใช้ชีวิตประจำวัน เรามาเรียนรู้กัน

สารอาหารจำเป็น ที่ต้องการต่อวัน

สารอาหารที่จำเป็นต่อร่างกาย มีด้วยกัน 5 หมู่ โดยทั้ง 5 หมู่ได้รับจากอาหารที่แตกต่างกัน

  1. หมู่ที่ 1 สารอาหารประเภทโปรตีน พบได้ในเนื้อสัตว์ หมูและไก่ รวมถึงไข่ นม ส่วนประกอบเหล่านี้เป็นโปรตีนจากสัตว์ นอกจากโปรตีนจากสัตว์ แล้วยังมีโปรตีน ถั่ว ที่เป็นโปรตีนอีก 1 ชนิดที่อยู่ในหมวดนี้ ที่สามารถทานทดแทน โปรตีนที่ได้รับต่อมื้ออาหารได้ทันที โปรตีน ประโยชน์สูงอิ่มง่ายอยู่ท้องนานไม่แพ้โปรตีนจากสัตว์
  2. หมู่ที่ 2 คาร์โบไฮเดรต โดยเป็นสารอาหารพบได้ใน ขนมปัง ข้าว แป้ง น้ำตาล
  3. หมู่ที่ 3 เกลือแร่ และแร่ธาตุต่าง ๆ สามารถพบได้ในตามอาหารทั่วไปในพืชผัก
  4. หมู่ที่ 4 วิตามิน สามารถพบได้ใน ผลไม้ทุกชนิด
  5. หมู่ที่ 5 ไขมัน ไขมันจากพืชและสัตว์ โดยไขมันจะพบได้ 2 ชนิด คือไขมันอิ่มตัว และไขมันไม่อิ่มตัว โดยหมู่ที่ 5 จะเป็นไขมันแบบไม่อิ่มตัว ที่พบได้ใน น้ำมันงา น้ำมันมะพร้าว และน้ำมันทุกชนิดที่ไม่มีส่วนประกอบของสัตว์

ปริมาณ โปรตีนต่อวัน ที่ควรจะได้รับ ใครควรได้รับเท่าไร

ใน 1 วันมนุษย์ควรจะรับประทานโปรตีนจำนวนเท่าไรต่อวัน โดยปริมาณในการรับประทานจะแบ่งออกไปตามกลุ่มผู้ที่ต้องการได้รับ ปริมาณโปรตีนต่อวัน ดังนี้
  • เด็กอายุ 1 ปี - 3 ปี ปริมาณโปรตีนที่ควรได้รับ อยู่ที่ 1.2 กรัม ต่อน้ำหนักตัว 1 กิโลกรัม
  • เด็กอายุ 4 ปี - 7 ปี ปริมาณโปรตีนที่ควรได้รับ อยู่ที่ 1.1 กรัม ต่อน้ำหนักตัว 1 กิโลกรัม
  • เด็กอายุ 8 ปี - 15 ปี ปริมาณโปรตีนที่ควรได้รับ อยู่ที่ 1 กรัม ต่อน้ำหนักตัว 1 กิโลกรัม
  • บุคคลทั่วไป อายุมากกว่า 15 ปี โปรตีนต่อวัน ควรได้รับปริมาณ 0.8 - 1 กรัม ต่อน้ำหนักตัว 1 กิโลกรัม
  • ผู้สูงอายุ ปริมาณโปรตีนที่ควรได้รับ อยู่ที่ 1 - 1.2 กรัม ต่อน้ำหนักตัว 1 กิโลกรัม
  • หญิงตั้งครรภ์ นักกีฬาที่สร้างกล้ามเนื้อ ผู้ป่วยแผลกดทับ ต้องการปริมาณโปรตีนที่ 1.3 - 1.7 กรัม ต่อน้ำหนักตัว 1 กิโลกรัม ซึ่งเป็นกลุ่มที่ควรจะได้รับปริมาณโปรตีนมากที่สุด และต้องทานอาหารให้ครบทั้ง 5 หมู่เพื่อเสริมภูมิคุ้มกัน และสร้างความแข็งแรงให้กับร่างกาย

เลือกทานโปรตีนต่อวัน ให้ตรงตามความต้องการ

การทานโปรตีนสามารถทานได้ตามมื้ออาหารต่าง ๆ ได้ทันที หากเป็นเด็กหรือ วัยรุ่นที่อายุไม่มากนัก ก็ไม่ต้องห่วงเรื่องการขาดโปรตีน แต่หากเป็นวัยทำงาน ที่ไม่มีเวลาในการดูแลตัวเองก็อาจจะมีปัญหาการขาดโปรตีนตามมา หรือวัยผู้สูงอายุ ที่ต้องการปริมาณโปรตีนมากกว่าวัยทำงาน เพราะต้องใช้โปรตีนในการซ่อมแซมและฟื้นฟูร่างกาย แต่การรับประทานแบบเดิม ๆ อาจจะดูยากสำหรับผู้สูงอายุ ที่รับประทานอาหารได้น้อยลง จึงมีการผลิตโปรตีนพืชชงดื่ม ทำให้ง่ายต่อการบริโภคเพิ่มปริมาณโปรตีนต่อวัน แต่ละคนจะแตกต่างกันในตามน้ำหนักตัว ควรเลือกทานให้ตรงตามความต้องการ หรือต้องการรับประทานโปรตีนพีชเสริมมื้ออาหาร เพื่อให้ได้รับโปรตีนอย่างเพียงพอ อย่างเช่น โปรตีนพืช จาก PANAPRO ที่เลือกรับประทานได้ตั้งแต่เด็ก จนถึงผู้สูงอายุ

ทาน PANAPRO โปรตีนพีช สำหรับทุกคน

โปรตีนพืชสามารถรับประทานได้ทุกเพศทุกวัย โดยการรับประทาน 1 ซอง ต่อน้ำ 300 มิลลิลิตร การรับประทาน สามารถรับประทานได้ทุกช่วงเวลา ทานก่อนหรือหลังอาหารก็ได้ หรือ รับประทานทดแทนมื้ออาหาร เพื่อควบคุมน้ำหนัก และทำให้แต่ละมื้ออาหารได้รับสารอาหารที่ครบถ้วนเพียงพอ ซึ่งไม่ว่าจะทานเวลาไหน ๆ ก็ได้ตามความต้องการของคุณ 


หากสนใจรับประทานอาหารเสริม โปรตีน PANAPRO คืออีก 1 ตัวเลือกในการเลือกทานโปรตีน ที่น่าสนใจ โดยมีถึง 4 รสชาติให้ได้เลือกทาน รสงาดำ รสชาเขียว รสช็อคโกแลต รสกาแฟลาเต้ โดยมีสารอาหารมากถึง 91 ชนิด ท่านใดสนใจ สามารถสั่งซื้อผ่านหน้าเว็บไซต์ได้ทันที อิ่มท้อง ไม่หิวบ่อย ลองมองหาโปรตีนพืชจาก panapro เป็นอีกหนึ่งการตัดสินใจ

บทความเพิ่มเติม :

เทคนิคการเลือกซื้อผลิตภัณฑ์อาหารเสริมโปรตีน

โปรตีนจากพืช กินแล้วช่วยให้หน้าอ่อนกว่าวัยจริงหรือไม่ ?

โปรตีนจากพืชคืออะไร ดีต่อสุขภาพจริงหรือไม่ ?

บทความที่เกี่ยวข้อง
โปรตีน ลดน้ำหนัก ยี่ห้อไหนดี
เลือกโปรตีน ลดน้ำหนักสำหรับผู้หญิง PANAPRO ได้มากกว่าคำว่าผอม ตัวช่วยลดน้ำหนักที่รู้ใจ เสริมสร้างร่างกายให้สุขภาพดี และมีหุ่นดี
10 Sep 2024
หาค่า BMI เท่าไหร่ ถึงเรียกอ้วน! เช็ก BMI ตัวบ่งชี้ด้านสุขภาพ
แจกวิธีคำนวณ BMI ค่าดัชนีมวลกาย เพียงรู้น้ำหนักและส่วนสูง ตัวช่วยบ่งชี้ด้านสุขภาพ และยังมีประโยชน์ในการวางแผนดูแลสุขภาพในระยะยาว
6 Sep 2024
กินแล้วไม่อ้วนดีจริง หรือเสี่ยงโรค
กินเยอะ แต่ไม่อ้วนสักที ความสุขของคนผอม กินแล้วไม่อ้วน ดีหรือเสี่ยงโรค ดูพฤติกรรมของคุณ มีความเสี่ยงมากขนาดไหนในการเกิดโรค
26 Aug 2024
เว็บไซต์นี้มีการใช้งานคุกกี้ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพและประสบการณ์ที่ดีในการใช้งานเว็บไซต์ของท่าน ท่านสามารถอ่านรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และ นโยบายคุกกี้
เปรียบเทียบสินค้า
0/4
ลบทั้งหมด
เปรียบเทียบ